farm-talk-คุยเฟื่องเรื่องฟาร์ม ตอนนี้ชวนคุยเรื่องสำคัญ
ASFหรืออหิวาต์แอฟริกาในสุกรป้องกันได้ กับ9 ข้อแนะนำเฝ้าระวังและป้องกันโรค ASF ในร้านขายอาหารสัตว์
1.อาหารสัตว์ รับจากโรงงานผลิตที่ได้มาตรฐาน มีระบป้องกันโรคที่ดี มีการตรวจสอบเชื้อ ASFสม่ำเสมอ
2. รถรับอาหารจากโรงงานมายังร้าน
3. พื้นที่/สถานที่จัดเก็บอาหาร
4. หน้าร้าน
5. พนักงาน
6. รถลูกค้าและรถขนส่งอาหารไปที่ฟาร์ม
7. คนขับรถและคนลงอาหาร 8. การกำจัดสัตว์พาหะ
9. กระบวนการตรวจสอบ
ลดความเสี่ยงโรคASF โดยเลือกใช้อาหารสุกรที่มีความปลอดภัยของแหล่งที่มาวัตถุดิบ มีความสำคัญมาก ช่วยป้องกันการปนเปื้อนโรคเข้าฟาร์ม ถือเป็นหัวใจของการป้องกันที่เจ้าของฟาร์มต้องตระหนักในประเด็นนี้
CPFผลิตและจำหน่ายอาหารสุกรโดยคำนึงถึงความปลอดภัยของแหล่งที่มาวัตถุดิบ ที่จะต้องไม่มาจากแหล่งที่มีความเสี่ยงปนเปื้อนเชื้อ ASF และสอบย้อนกลับได้ รวมไปถึงการตรวจสอบเชื้อ ASF ในวัตถุดิบรับเข้า รวมไปถึงอาหารสัตว์สำเร็จรูป ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย รวดเร็วและแม่นยำ เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับลูกค้า และฟาร์มเลี้ยงสุกรในเครือฯ โดยยังมุ่งเน้นให้ความสำคัญไปถึงภาชนะที่บรรจุวัตถุดิบ ต้องใช้ภาชนะบรรจุที่ใหม่เท่านั้น ทั้งนี้เราในฐานะที่เป็นผู้ผลิตอาหารสัตว์ปลอดภัย เราขอเป็นส่วนหนึ่งในการส่งต่อความมั่นใจให้กับลูกค้าทุกท่าน
African Swine Fever (ASF) หรือโรคแอฟริกันสไวน์ฟีเวอร์ ถูกค้นพบครั้งแรกที่ประเทศเคนย่า ทวีปแอฟริกาเมื่อปีพ.ศ.2464 (ค.ศ.1921) และมีการระบาดไปยังทวีปยุโรปและทวีปเอเชีย โรคนี้เป็นโรคไวรัสที่ระบาดในสุกร หากเกิดการระบาดจะทำให้สุกรตายสูงที่สุด 100% ยังไม่มีวัคซีนและการรักษา เป็นโรคที่ไม่ติดต่อสู่คน (เน้นย้ำ) เชื้อสามารถอยู่ในสิ่งแวดล้อม หรือซากได้นาน ประเทศที่มีการระบาดจะมีผลกระทบที่รุนแรงต่อเศรษฐกิจของประเทศ โรคนี้สามารถติดต่อในสุกรได้ทุกกลุ่ม และทุกช่วงอายุ อาการที่ปรากฏชัดคือตายเฉียบพลัน มีไข้สูง ผิวหนังแดง มีจุดเลือดออก หรือรอยช้ำโดยเฉพาะหลังใบหู ท้อง และขาหลัง รวมถึงอาการทางระบบอื่นๆ ด้วย เช่น ทางเดินหายใจ ทางเดินอาหาร และการแท้งในสุกรแม่พันธุ์ เป็นต้น
#ASFหรืออหิวาต์แอฟริกาในสุกรป้องกันได้,#อาหารสัตว์ซีพีเอฟปลอดภัย, #Farmtalk, #9ข้อแนะนำเฝ้าระวังและป้องกันโรคASFในร้านขายอาหารสัตว์, #ลดความเสี่ยงโรคASF,#อาหารสุกรที่มีความปลอดภัย,#แหล่งที่มาวัตถุดิบ,#โรคASF,#ผู้ผลิตอาหารสัตว์ปลอดภัย,#ตรวจสอบย้อนกลับได้
รับชมและอัพเดทรายการfarm-talk-คุยเฟื่องเรื่องฟาร์มก่อนใครอย่าลืมกดติดตามช่อง Youtube : https://n9.cl/y0pgf
ติดตามข่าวสาร โครงการอื่นๆกับเราได้ที่นี่
Website https://www.cpffeed.com/
Website : https://cpffeedsolution.com
Facebook : https://www.facebook.com/cpffeed/
Line OA : https://bit.ly/36hMa47
Youtube https://n9.cl/y0pgf
E-commerce : https://www.cpffeedonline.com
🛑 ASFหรืออหิวาต์แอฟริกาในสุกรป้องกันได้ กับ9 ข้อแนะนำเฝ้าระวังและป้องกันโรค ASF ในร้านขายอาหารสัตว์
1.อาหารสัตว์ รับจากโรงงานผลิตที่ได้มาตรฐาน มีระบป้องกันโรคที่ดี มีการตรวจสอบเชื้อ ASFสม่ำเสมอ
2. รถรับอาหารจากโรงงานมายังร้าน
3. พื้นที่/สถานที่จัดเก็บอาหาร
4. หน้าร้าน
5. พนักงาน
6. รถลูกค้าและรถขนส่งอาหารไปที่ฟาร์ม
7. คนขับรถและคนลงอาหาร 8. การกำจัดสัตว์พาหะ
9. กระบวนการตรวจสอบ
🛑ลดความเสี่ยงโรคASF โดยเลือกใช้อาหารสุกรที่มีความปลอดภัยของแหล่งที่มาวัตถุดิบ มีความสำคัญมาก ช่วยป้องกันการปนเปื้อนโรคเข้าฟาร์ม ถือเป็นหัวใจของการป้องกันที่เจ้าของฟาร์มต้องตระหนักในประเด็นนี้
✅CPFผลิตและจำหน่ายอาหารสุกรโดยคำนึงถึงความปลอดภัยของแหล่งที่มาวัตถุดิบ ที่จะต้องไม่มาจากแหล่งที่มีความเสี่ยงปนเปื้อนเชื้อ ASF และสอบย้อนกลับได้ รวมไปถึงการตรวจสอบเชื้อ ASF ในวัตถุดิบรับเข้า รวมไปถึงอาหารสัตว์สำเร็จรูป ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย รวดเร็วและแม่นยำ เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับลูกค้า และฟาร์มเลี้ยงสุกรในเครือฯ โดยยังมุ่งเน้นให้ความสำคัญไปถึงภาชนะที่บรรจุวัตถุดิบ ต้องใช้ภาชนะบรรจุที่ใหม่เท่านั้น ทั้งนี้เราในฐานะที่เป็นผู้ผลิตอาหารสัตว์ปลอดภัย เราขอเป็นส่วนหนึ่งในการส่งต่อความมั่นใจให้กับลูกค้าทุกท่าน
African Swine Fever (ASF) หรือโรคแอฟริกันสไวน์ฟีเวอร์ ถูกค้นพบครั้งแรกที่ประเทศเคนย่า ทวีปแอฟริกาเมื่อปีพ.ศ.2464 (ค.ศ.1921) และมีการระบาดไปยังทวีปยุโรปและทวีปเอเชีย โรคนี้เป็นโรคไวรัสที่ระบาดในสุกร หากเกิดการระบาดจะทำให้สุกรตายสูงที่สุด 100% ยังไม่มีวัคซีนและการรักษา เป็นโรคที่ไม่ติดต่อสู่คน (เน้นย้ำ) เชื้อสามารถอยู่ในสิ่งแวดล้อม หรือซากได้นาน ประเทศที่มีการระบาดจะมีผลกระทบที่รุนแรงต่อเศรษฐกิจของประเทศ โรคนี้สามารถติดต่อในสุกรได้ทุกกลุ่ม และทุกช่วงอายุ อาการที่ปรากฏชัดคือตายเฉียบพลัน มีไข้สูง ผิวหนังแดง มีจุดเลือดออก หรือรอยช้ำโดยเฉพาะหลังใบหู ท้อง และขาหลัง รวมถึงอาการทางระบบอื่นๆ ด้วย เช่น ทางเดินหายใจ ทางเดินอาหาร และการแท้งในสุกรแม่พันธุ์ เป็นต้น
#ASFหรืออหิวาต์แอฟริกาในสุกรป้องกันได้,#อาหารสัตว์ซีพีเอฟปลอดภัย, #Farmtalk, #9ข้อแนะนำเฝ้าระวังและป้องกันโรคASFในร้านขายอาหารสัตว์, #ลดความเสี่ยงโรคASF,#อาหารสุกรที่มีความปลอดภัย,#แหล่งที่มาวัตถุดิบ,#โรคASF,#ผู้ผลิตอาหารสัตว์ปลอดภัย,#ตรวจสอบย้อนกลับได้
✅อัพเดทก่อนใครอย่าลืมกดติดตามช่อง Youtube : https://n9.cl/y0pgf
📌 ติดตามข่าวสาร โครงการอื่นๆกับเราได้ที่นี่
Website https://www.cpffeed.com/
Website : https://cpffeedsolution.com
Facebook : https://www.facebook.com/cpffeed/
Line OA : https://bit.ly/36hMa47
Youtube https://n9.cl/y0pgf
E-commerce : https://www.cpffeedonline.com