
“ความยั่งยืนต่างจาก CSR ที่เป็นการเข้าไปช่วยเหลือระยะสั้นแต่ความยั่งยืน เมื่อช่วยเขาแล้ว ต้องสามารถปล่อยมือได้ เพื่อให้ชุมชน สามารถเดินหน้าต่อไปเองได้จากรุ่นสู่รุ่น ดังเช่นคำกล่าวที่ว่า
“สอนให้เขาจับปลาเป็น ไม่ใช่เพียงแค่ยื่นปลาให้เขา”

ร่วมมือแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการ และการเติบโตของเด็กๆ วัยเรียน
สภาพปัญหา Pain Point



กลไกลการขับเคลื่อนด้วยหลัก 4 ประสาน

ขีด
บุคลากรที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญในด้านเทคโนโลยีดิจิทัลและนวัตกรรม
- ผุ้สนับสนุนทรัพยากร
- สิ่งของเหลือใช้ที่ไม่ได้ใช้งานสร้างประโยชน์
- องค์ความรู้ความชำนาญด้านนวัตกรรม และดิจิตอล

คิด
การพัฒนาโครงการการจากปลูกผัก เลี้ยงสัตว์ โดยนำแนวคิดการปรับปรุงงาน
- การเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงานไฟฟ้าผ่านแผงโซลาร์เซลล์
- การติดตั้งตู้วัดอุณหภูมิวัดความชื้นโรงเพาะเห็ด
- การใช้ระบบ IOT เข้ามาช่วยในการเพาะปลูก
- การสร้างนวัตกรรมทางอาหารแปรรูปผลผลิต

ร่วม
การมีส่วนร่วมของพนักงานกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
- พนักงานร่วมกันคิดค้นนวัตกรรมด้านเทคโนโลยี ดิจิตอล
- พนักงานจิตอาสา ชมรมบำเพ็ญประโยชน์
- ลูกค้าอาหารสัตว์บกร่วมโครงการ CSR
- รับเหมาซ่อมสร้างบริษัท

ข่าย
ความร่วมมือกับเครือข่าย เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
- องคการบริหารส่วนท้องถิ่นรอบโรงงาน
- ครู อาจารย์ นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน
- ปราชญ์ชุมชน หมอดิน จิตอาสาในชุมชนที่มีความรู้ ความสามารถเพาะด้าน
- ผู้ประกิบอาชีพทางการเพาะเห็ด สอนการเพาะเห็ด
แนวความคิดความยั่งยืนด้วยหลัก ESG
Environment
การนำ พลังงานหมุนเวียน มาใช้เพื่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด โดยการใช้ พลังงานแสงอาทิตย์ผ่านแผงโซลาเซลล์ รดน้ำแปลงผัก สเปรย์น้ำโรงเพาะเห็ด
Social
การให้พนักงานในองค์กร นำความรู้ด้านเทคโนโลยี ดิจิตอล เข้าไปมีส่วนร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยตรง
Governance
การสร้าง ความเชื่อมั่น ว่าบริษัทนี้สามารถรับผิดชอบต่อสังคมได้